ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Fundamentals Explained

นอกจากนี้ ความไม่เท่าเทียมกันทางชนชั้นในสังคมไทยก็ทำให้การเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกันไป เช่น การที่ผู้ปกครองทำอาชีพเกษตรกรรมในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ และได้ผลผลิตไม่ดี ทำให้รายได้ไม่เพียงพอ ส่งผลให้บุตรหลานที่กำลังอยู่ในวัยเรียนต้องรับภาระในการหาค่าใช้จ่าย เพื่อมาช่วยเหลือจุนเจือครอบครัวควบคู่ไปกับการเรียน ซึ่งในบางกรณีทำให้เด็กนักเรียนต้องออกจากระบบการศึกษาไปในที่สุด

“โดยที่ผ่านมาในการทำงานแต่ละภาคส่วนมีความโดดเด่นต่างกัน เพราะฉะนั้นการทำงานที่ผ่านมาจะไม่สามารถตอบโจทย์ได้เลยหากไม่ทำงานเชื่อมโยงกัน เหนี่ยวนำคนที่มีหัวใจเดียวกันมาร่วมกันทำงานช่วยเหลือเด็กและเยาวชนไปด้วยกัน”

Ad cookies are used to provide people with suitable adverts and advertising and marketing strategies. These cookies track guests across websites and acquire information and facts to deliver custom made adverts. Other people Other folks

“แต่ละภาคส่วนจุดเด่นแตกต่างกัน ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเด่นอยู่ที่ความคล่องตัวเมื่อทำงานกับภาคประชาสังคม มีอำนาจสั่งการมีการกำหนดโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ประสานงานกับภาครัฐและเอกชนได้ง่าย ส่วนภาครัฐมีอำนาจสั่งการ สามารถวางรากฐานที่เชิงนโยบายและโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีทรัพยากรเป็นของตนเอง แต่มีความไม่คล่องตัวเนื่องจากระเบียบวิธีทางงบประมาณของภาครัฐ ขณะที่ภาคประชาสังคมจะขาดอำนาจในการสั่งการโดยตรง ขณะเดียวกันภาคประชาสังคมก็ทำงานแนวราบได้ดี แต่ขาดการเชื่อมโยงกับภาครัฐในการช่วยเหลือน้องๆ สุดท้ายภาควิชาการทำให้เกิดความร่วมมือที่หลากหลาย”

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

มาตรการการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากรัฐบาล เป็นการออกนโยบายเพื่อเข้ามาช่วยเหลือดูแลให้เด็ก และเยาวชนมีโอกาสได้รับสิทธิ และเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น มีนโยบายการกำหนดให้เด็ก และเยาวชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการสนับสนุนค่าเล่าเรียนให้แก่นักเรียน เป็นต้น อีกทั้งปัจจุบันภาครัฐยังมีการสนับสนุน และดูแลให้โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้อย่างเท่าเทียมกับโรงเรียนในพื้นที่เขตเมือง โดยมีการช่วยเหลือในการจัดหาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และการติดตั้งสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่อทำให้ขอบข่ายการเรียนรู้ขยายกว้าง และมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น 

ผู้ว่าราชการท่านมาแล้วก็ไป สุดท้ายคนที่จะต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาร่วมกันก็ต้องเป็นคนในจังหวัดนั้นๆ”

ผลลัพธ์คือเงื่อนไขด้านสภาพที่อยู่อาศัยสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้มากที่สุดดังคาด แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าว จำเป็นต้องถ่ายภาพประกอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการเดินทางไปเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลหรือบนเขาบนดอยนั้นมีความยากลำบาก และน่ากังวลเรื่องความปลอดภัยของครู อีกทั้งบางกรณี สภาพบ้านอาจไม่สามารถสะท้อนความยากจนของตัวนักเรียนได้ เพราะมีนักเรียนบางกลุ่มอาศัยกับญาติที่มีบ้านหลังใหญ่โต หรือมีปัจจัยด้านวัฒนธรรมอย่างชนเผ่าม้งที่นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่และวัสดุธรรมชาติ ทำให้แม้สอดคล้องกับเงื่อนไข แต่ไม่ได้มีสถานะยากจนจริง

หากเราตั้งเป้าหมายว่าต้องการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กยากไร้ในทุกๆ กลุ่มให้เสมอภาคกัน เรื่องเหล่านี้ก็อาจกลายเป็นโจทย์สำคัญที่รัฐต้องหันมาทบทวนและค้นหาแนวทางการช่วยเหลือในอนาคต

สามารถขอรับคำปรึกษา และหากโครงการที่นำเสนอมีศักยภาพ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา จะมีโอกาสได้รับเงินทุนทำต่อ และ ได้รับการสนับสนุนการทำโครงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น details / technological innovation / assessment / financial / investigate/ partnership

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในระดับนานาชาติ:

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

ถ้าเราด่วนสรุปว่าการแก้ปัญหาเรื่องความเสมอภาคด้านการศึกษา คือการเพิ่มวงเงินช่วยเหลือให้มากขึ้นจนกว่าจะครอบคลุมจำนวนนักเรียนยากจนทั้งหมดในประเทศไทย ก็อาจเป็นการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงเป้า

การสนับสนุนการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เปรียบเสมือนการช่วยเหลือทางอ้อม เพื่อให้เด็ก และเยาวชนสามารถมีโอกาสที่ดีทางการศึกษาได้ เนื่องจากเมื่อผู้ปกครองมีความรู้ หรือมีโอกาสได้เรียนรู้ในสิ่งต่างๆ รวมไปถึงมีความเข้าใจในความสำคัญของการศึกษา ก็จะช่วยให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการสนับสนุนการศึกษาให้แก่บุตรหลานของตน อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นให้บุตรหลานของตนเอาใจใส่การเรียนได้อีกด้วย 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *